รีวิว Seaspiracy

นับตั้งแต่สารคดี Seaspiracy เริ่มออกฉายทั่วโลกผ่านทางช่องสตรีมมิ่งออนไลน์ Netflix เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมาก็สร้างกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เนื้อหาในสารคดีเริ่มต้นมาอย่างน่าสนใจ โดยปูพื้นฐานที่มาของเรื่องจากความหลงใหล ในท้องทะเลของ Ali Tabrizi ผู้กำกับหนัง ดูได้ที่ ดูหนัง

 

 

และความต้องการที่จะช่วยปกป้องมหาสมุทรที่เขารักจากปัญหาต่างๆ เริ่มตั้งแต่ปัญหาขยะพลาสติก ที่อยู่ในกระแสการรณรงค์ของทุกภาคส่วนทั่วโลก ก่อนจะค่อยๆ ขยายภาพไปสู่ปัญหาที่ใหญ่มากขึ้นผ่านสีสันของการเล่าเรื่องสไตล์สืบสวน ที่พาผู้ชมไปรู้จักอุตสาหกรรมประมง ซึ่งน้อยคนนักจะรู้ว่าส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล โดยเกี่ยวโยงกับหลายประเทศ หลายองค์กร และเราในฐานะผู้บริโภคอาหารทะเล

เพื่อให้เห็นภาพกระแสของสารคดีเรื่อง Seaspiracy ที่ชัดเจนมากขึ้น เราจะพาไปสำรวจความคิดเห็นและปฏิกิริยาของผู้คนในแวดวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงย้อนกลับมาดูสถานการณ์ด้านทะเลและแรงงานของไทยควบคู่กัน

Netflix นอกจากจะเป็นแหล่งรวมหนัง และซีรีส์คุณภาพ และเปี่ยมด้วยความบันเทิงแล้ว อีกหนึ่งคอนเทนต์ยอดนิยมของสตรีมนี้คือสารคดี ที่มีครบทุกแนว ทุกอรรถรส และในช่วงนี้ก็ได้มีอีกหนึ่งหนังสารคดีของ Netflix ที่กำลังเป็นกระแสอยู่ในตอนนี้ ที่ได้รับความสนใจจากทั้งผู้ชมทั่วไป และเหล่านักอนุรักษ์ธรรมชาติ กับสารคดีที่มีชื่อว่า Seaspiracy

หลายบทความและข้อคิดเห็นจากนักวิชาการด้านทะเลและประมงได้ออกมาโต้แย้ง และชี้ให้เห็นจุดอ่อนของการเลือกนำเสนอ โดยมุ่งโจมตีองค์กรอนุรักษ์หลายแห่ง เช่น Marine Stewardship Council หรือ (MSC) [1] และฉลาก Dolphin safe/friendly [2] ว่าเป็นการร่วมมือกันระหว่างภาคธุรกิจและองค์กรด้านสิ่งแวดล้อม

เพื่อหลอกลวงผู้บริโภคว่า สินค้าที่ซื้อนั้นเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย MSC ได้ออกแถลงการณ์ ตอบโต้ทันทีว่า สารคดีจงใจให้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนที่อ้างว่าการทำประมงอย่างยั่งยืนนั้นไม่มีอยู่จริง และการได้มาซึ่งตรารับรองมาตรฐาน MSC นั้นสามารถทำได้ง่าย ไร้ความน่าเชื่อถือ หรือในแถลงการณ์ของสถาบัน  Earth Island Institute ที่เป็นเจ้าของฉลาก Dolphin safe ที่ระบุว่าบทสัมภาษณ์ที่ปรากฎในสารคดีถูกตัดต่อและลดทอนให้เหลือเพียงข้อมูลที่ผู้กำกับต้องการนำเสนอ

 

รีวิว Seaspiracy

 

ทั้งนี้ เป็นเรื่องจริงที่ว่ายังมีข้อถกเถียงถึงความโปร่งใส และน่าเชื่อถือของมาตรฐานความยั่งยืนที่ให้กับสินค้าอาหารทะเล เช่น ช่องโหว่งในการออกใบรับรองห่วงโซ่ความยั่งยืน  (Chain of Custody – CoC) ของ MSC ที่อ้างอิงจากการประเมินตามเอกสารแต่เพียงอย่างเดียว ขาดระบบที่จะคอยตรวจสอบในทุกๆ รอบการทำประมง

ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะมีปลาที่จับด้วยวิธีการผิดกฎหมายปนเปื้อนมาในระบบ หรือจุดอ่อนในเรื่องแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานประมงที่ทำงานอยู่กลางทะล ซึ่ง MSC ยังขาดมาตรการตรวจสอบและปกป้องแรงงานจากการตกเป็นแรงงานบังคับ (forced labor) ในห่วงโซ่การผลิตอาหารทะเล

จากรายงานและข้อค้นพบของกรีนพีซเมื่อปีที่ผ่านมา พบว่า มีบริษัทผู้จัดหาปลาทูน่ารายใหญ่ของไต้หวันเกี่ยวข้องกับการทำประมงผิดกฎหมาย เช่น การล่าฉลามเพื่อนำครีบมาขาย และขบวนการค้ามนุษย์ ซึ่งบริษัทดังกล่าวก็ได้รับมาตรฐานรับรอง MCS ในทำประมงทูน่าในน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกตอนกลาง ไปรับชมเลยที่ ดูหนังออนไลน์

 

 

อย่างไรก็ตาม ก็ไม่ได้หมายความว่าการมีอยู่ของมาตรฐานความยั่งยืนต่างๆ จะเป็นเรื่องหลอกลวง เพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มคนไม่กี่คนไปเสียทั้งหมด เพราะในแง่หนึ่งมาตรฐานเหล่านี้เป็นการพยายามเสนอทางออกให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมประมงต้องหันมารับผิดชอบเรื่องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ทว่าสิ่งที่สำคัญคือเรียกร้องให้เกิดการปรับปรุงช่องโหว่ของการให้การรับรองมาตรฐานอาหารทะเล ทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม และด้านแรงงานอย่างเป็นรูปธรรม ตรวจสอบได้จริง และมีมาตรการบังคับใช้พร้อมบทลงโทษที่มีประสิทธิภาพกว่าที่มีในขณะนี้

ปฏิกิริยาของรัฐบาลไทย และภาคธุรกิจต่อสารคดี Seaspiracy

สืบเนื่องจากเนื้อหาบางส่วนของสารคดีเชื่อมโยงมาถึงธุรกิจปลาป่นและอุตสาหกรรมฟาร์มกุ้งว่ามี ส่วนเกี่ยวข้องกับขบวนการค้าแรงงานทาส ในประเด็นนี้ทางรัฐบาลไทย ได้ออกมาชี้แจ้งว่า ข้อมูลที่ปรากฎในสารคดีเป็นข้อมูลเก่าเมื่อ 6-7 ปีที่แล้ว ปัจจุบันประเทศไทยผ่านการตรวจสอบมาตรฐานการประมงและแรงงานบนเรือจากสหภาพยุโรปแล้ว ขณะที่ภาคธุรกิจเองก็ออกมายืนยันว่า ห่วงโซ่การผลิต และรับซื้อวัตถุดิบอาหารทะเลของตนนั้นสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ และปลอดจากการใช้แรงงานที่ผิดกฎหมาย

คำชี้แจ้งดังกล่าวเป็นความจริงที่ว่า สถานการณ์การประมงและแรงงานในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นกว่าในอดีตค่อนข้างมาก นับตั้งแต่การดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงพระราชกำหนดการประมง ปี พ.ศ. 2558 และประเทศไทยลงนามให้สัตตาบันอนุสัญญาการทำงานในภาคประมง พ.ศ.2550 (ฉบับที่ 188) ซึ่งคุ้มครองการทำงานและสภาพความเป็นอยู่ของแรงงานบนเรือประมง ส่งผลให้ประเทศไทยหลุดพ้นสถานภาพใบเหลือง ไปอยู่ในกลุ่มที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) และได้เลื่อนอันดับประเทศที่มีการค้ามนุษย์มาอยู่ที่เทียร์ 2 คือเป็นประเทศที่ต้องจับตามอง (Tier 2 Watch List) ซึ่งถือว่าดีที่สุดในรอบ 9 ปี

ทว่าก็ใช่ว่าปัญหาด้านการประมงและแรงงานของไทยจะคลี่คลายสวยงามไปหมด เพราะยังพบการทำประมงแบบไม่ยั่งยืน โดยเฉพาะการใช้อวนลาก อวนล้อม และเรือปั่นไฟในน่านน้ำของไทย มาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ในแต่ละปีเราสูญเสียลูกปลาเศรษฐกิจมากกว่า 74 ชนิดและเศรษฐกิจเสียหายไม่น้อยกว่า 145 ล้านบาท ซึ่งล่าสุดตัวแทนของ สมาคมสมาพันธุ์ชาวประมงพื้นบ้านก็ได้เดินทางมายื่นหนังสือกับภาคธุรกิจ ให้หยุดจำหน่ายสัตว์น้ำวัยอ่อน เพื่อให้สัตว์น้ำขนาดเล็ก ได้มีโอกาสขยายพันธุ์เติบโตเป็นปลาขนาดใหญ่ต่อไป

รีวิว Seaspiracy

โดยสารคดีเรื่องนี้เป็นผลงานการกำกับของ อาลี ทาไบรซี่ นักทำหนังสารดดีหน้าใหม่ ที่ลีลาการกำกับไม่ธรรมดา เพราะ อาลี เป็นคนที่ชื่นชอบสัตว์น้ำ สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลมาตั้งแต่เด็ก จนเมื่อโตขึ้นเขาก็เกิดไอเดียที่จะทำสารคดีที่ว่าด้วยอุตสาหกรรมการประมงที่สร้างความเสียหายต่อสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล ซึ่งหากโลกขาดสิ้งมีชีวิตเหล่านี้ จะทำให้ธรรมชาติเสียสมดุล และส่งผลเลวร้ายต่อมนุษย์ในอนาคต ไปรับชมที่ ดูหนังฟรี

 

 

อาลี ได้พยายามเข้าไปหาความจริงของเบื้องหลังวงการประมงด้วยตัวเอง พร้อมทีมงานอีกเพียงไม่กี่ชีวิต ก่อนที่เขาจะพบว่าแท้จริงแล้วเหล่าองค์กรที่ออกมาเรียกร้องให้อนุรักษ์สิ่งมีชีวิตใต้ทะเล และออกกฎห้ามทิ้งขยะพลาสติกในชายหาด หรือทะเลนั้น ได้อยู่เบื้องหลังการสนับสนุนอุตสาหกรรมการประมงที่ทำร้ายสัตว์ในทะเลมากกว่าที่เราทุกคนทิ้งขยะลงทะเลหลายเท่า และด้วยความที่มันเป็นเหมือนการสมรู้ร่วมคิดแบบลับ ๆ มันก็ทำให้อุตสาหกรรมประมงไม่ต่างจากอาชญากรรม หรือธุรกิจมืด ที่มีธรรมชาติเป็นเหยื่อ

ความพิเศษของสารคดีเรื่องนี้คือการที่ผู้สร้างไม่ได้ทำให้มันเป็นเหมือนการให้ความรู้ หรือบอกเล่าแบบต่อ ๆ กันเหมือนเรื่องอื่น ๆ แต่สารคดีเรื่องนี้ อาลี ได้เอาตัวเองลงไปเล่นเอง เสี่ยงเอง ในการไปไล่ตามแอบถ่ายการทำประมงที่ป่าเถื่อน ไร้มนุษยธรรม และยังดิ้นรนทำทุกวิถีทางเพื่อหาความจริงจากคนวงใน แม้ว่าท้ายที่สุดเขาจะถูกปฏิเสธแทบทุกครั้งก็ตาม ด้วยการเอาตัวเองลงไปเป็นหนึ่งในตัวละครหลัก ทำให้การดูซีรีส์เรื่องนี้เหมือนกำลังดูหนังอาชญากรรม สืบสวนสอบสวน ระทึกขวัญอยู่ก็ว่าได้

ในด้านประเด็นของสารคดี Seaspiracy ก็ทำออกมาได้ยอดเยี่ยม โดยหนังได้ค่อย ๆ ทำให้เราได้ร่วมรับรู้ถึงผลได้ผลเสียของมนุษย์ต่ออุตสาหกรรมประมงแบบเข้าใจง่าย พร้อมสร้างอารมณ์ร่วมจากการนำเสนอภาพเหตุการณ์จริง ฟุตเทจจริงสุดน่าสะเทือนใจ ทำให้เมื่อได้ดูสารคดีเรื่องนี้ คนดูได้เกิดความตระหนัก และเกรงกลัวที่จะกินเนื่อปลาไปโดยปริยาย

นอกจากนี้ในส่วนหนึ่งของหนังก็ได้มีการตีแผ่ความเลวร้ายของอุตสาหกรรมประมงของประเทศไทย ที่มีการจับคนขึ้นไปบนเรือ และใช้แรงงานราวกับทาส และฆ่าทิ้งหากคน ๆ นั้นพยายามหนี หรือไร้ประโยชน์ ซึ่งความอาจหาญนี้หาได้มีเฉพาะประเทศไทยเท่านั้นที่ถูกสารคดีเรื่องนี้แฉ แต่ยังมีญี่ปุ่น, ฮ่องกง ที่ถูกเปิดโปงด้วยเช่นกัน ซึ่งการทำแบบนี้ก็เหมือนกับว่าตัว อาลี และทีมผู้สร้างเองก็ได้ยอมเอาชีวิตลงไปเสี่ยงเพื่อให้ได้ความจริงมาเผยแพร่

ใครที่ชื่นชอบหนังสารคดีที่นอกจากจะให้ความรู้แล้ว ยังได้ทำให้เราได้ฉุกคิด และเปลี่ยนแปลงความคิดบางสิ่งบางอย่าง Seaspiracy คืออีกเรื่องที่อยากแนะนำอย่างยิ่ง เพราะสารคดีเรื่องนี้มีมากกว่าความบันเทิง และสาระความรู้ แต่มันยังเป็นกระบอกเสียงชั้นดีแทนเหล่าสัตว์ทะเล ที่ถูกมนุษย์ทำร้าย ซึ่งเหมือนว่าเรื่องเหล่านี้อยู่ไกลตัวพวกเรา แต่หารู้ไม่ว่าท้ายที่สุดแล้วมันอาจส่งผลสะท้อนมาถึงพวกเราเอง ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม

รีวิวจากผู้ชมทั่วโลก

สารคดีดีๆ ที่สร้างมาอย่างดีจาก Netflix ฉันรู้สึกจดจ่อกับ SEASPIRACY โดยเฉพาะอย่างยิ่งรูปแบบที่ดึงคุณเข้าสู่ดินแดนที่คุ้นเคยทีละน้อย และจบลงด้วยการทำให้คุณประทับใจด้วยฟุตเทจจากวงใน ข้อเท็จจริง และสถานการณ์ที่คุณไม่เคยคิดมาก่อนหรือไม่รู้อะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้มาก่อน ผู้บรรยาย/สารคดีเป็นตัวละครที่น่าพึงใจ และภารกิจระดับนานาชาติของเขานำเขาไปสู่สถานการณ์อันตรายที่เผยให้เห็นความกระจ่างใหม่เกี่ยวกับการล่วงละเมิดมหาสมุทรของมนุษยชาติ ซึ่งเป็นอาชญากรรมที่เราทุกคนสมรู้ร่วมคิด สิ่งที่ดี ไปดูกันเลยที่ เว็บดูหนังฟรี

 

 

ฉันได้ยินจากเพื่อน ๆ ว่านี่ควรจะเป็นสารคดีที่ดีจริงๆ แต่ฉันปล่อยให้เวลาผ่านไปสักพักก่อนจะไปดูต่อจริงๆ ดังนั้นเมื่อผมทำเมื่อวานนี้ จุดเริ่มต้นไม่ได้จับใจผมหรือความสนใจของผมมากนักในทันที เช่นเดียวกับผู้สร้างภาพยนตร์ที่อยู่ตรงกลางของเรื่องนี้ ฉันถูกดูดเข้าไปอย่างช้าๆ เหมือนกับที่เขาทำ … โดยมีการเปิดเผยครั้งแล้วครั้งเล่า

คุณคิดว่าคุณรู้อะไรบางอย่าง .. แล้วคุณก็รู้ว่าคุณไม่รู้ กำลังเปลี่ยนโฟกัสไปที่บางสิ่งและอยู่ห่างจากสิ่งอื่น แน่นอนว่านี่ไม่ได้หมายความว่าการฆ่าโลมาเป็นเรื่องที่น่ายินดีหรือเราควรเริ่มใช้หลอดพลาสติกอีกครั้ง … มันหมายความว่ามีปลาที่ใหญ่กว่าที่จะทอด … จริง ๆ แล้วอย่างที่สารคดีบอกว่าปลาราคาเท่าไหร่ ?

ไม่ต้องรอ จริงๆ แล้ว มันบอกว่า: ลองลดการบริโภคปลาของคุณ … จุดที่ดีและสอดคล้องกับมังสวิรัติที่ฉันคิด … โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณาสิ่งที่แสดงและพรรณนาที่นี่ … แต่ให้ความคิดของคุณเอง สิ่งนี้พยายามที่จะได้รับความคิดเห็นที่แตกต่างกันมากที่สุดแม้ว่าบางคนจะปฏิเสธที่จะพูด – ซึ่งแน่นอนว่าก็พูดมากเช่นกัน!

คุณไม่สามารถกินปลาได้อีกหากคุณดูสารคดี Netflix อันน่าหลงใหลเรื่อง Seaspiracy เกี่ยวกับการคอร์รัปชั่นทั่วโลก ตั้งแต่การทำลายสิ่งมีชีวิตในทะเลด้วยขยะพลาสติก ไปจนถึงการฆ่าวาฬและโลมาโดยใช้แรงงานทาส ฉันอาจจะพูดเกินจริงน้ำเสียงของฉันในฐานะผู้กำกับ/ผู้บรรยายที่ Ali Tabrizi ทำบ่อยเกินไป แต่ถ้ามีความจริงเพียงส่วนเล็ก ๆ ที่นี่ คุณควรให้ความสนใจเพื่อดูว่าคุณสามารถทำอะไรเกี่ยวกับท้องทะเลของเราได้บ้าง

บางทีการเปิดเผยที่น่าสยดสยองที่สุดคือการทำลายล้างของสิ่งมีชีวิตในทะเลและถิ่นที่อยู่ด้วยจำนวนพลาสติกที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถสะสมเป็นตารางไมล์ เช่น อาณานิคม ดูเหมือนอาหารปลอมที่ดูเหมือนทำลายไม่ได้สำหรับปลาที่ไม่รู้จัก เช่น โลมาและวาฬที่กินเข้าไปโดยไม่สามารถล้างพิษได้ การได้เห็นสิ่งมีชีวิตที่พัวพันกับตาข่ายขนาดมหึมาเป็นความเสียหายหลักประกันคือการร้องไห้เพราะเราไม่สามารถหยุดการคุมขังได้

 

รีวิว Seaspiracy

 

เมื่อ Tabrizi เข้าใกล้เอเชียมากขึ้น การจับปลาฉลามเพื่อเอาครีบของพวกมันกลับทำให้รู้สึกมึนงงของขยะแขยงและความโหดร้าย แต่สิ่งที่โหดร้ายกว่านั้นก็คือ Grind ที่ยั่งยืนของประเทศไทย ซึ่งการต้อนฝูงวาฬเป็นครั้งคราวส่งผลให้ท่าเรือเลือดแดงแห่งความตาย

ทว่าความชั่วที่ผู้ชายสามารถทำได้ก็ปรากฏชัดเมื่อชายหนุ่มจับปลาในขณะที่เยาวชนเหล่านี้ตกเป็นทาสของนายจ้างที่โหดเหี้ยม บางทีการเปิดเผยของ Tabrizi ที่น่าหดหู่ใจกว่านั้นคือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรสามารถทุจริตได้มากกว่าการล่าปลาวาฬ

ด้วยความเจริญรุ่งเรืองของมนุษย์ เอกสาร 90 นาทีของ Tabrizi ชี้ให้เห็นถึงการทุจริตสากลของมนุษยชาติและความจำเป็นในการอนุรักษ์ทะเล ซึ่งต้องการปลาทุกขนาดเพื่อรักษาตัวมันเอง โดยปกติ Tabrizi อยู่ในโหมดไฮเปอร์ แต่ฉันสงสัยว่าพวกเราบางคนจะเลิกกินปลาในอาหารของเรา

อย่างไรก็ตาม คำตอบของเขาในการควบคุมการแสวงประโยชน์จากทะเลและมนุษย์ทั่วโลกสามารถกระตุ้นให้เราปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ดีและมีมนุษยธรรมมากขึ้น จากการศึกษาพบว่าหากอาหารทะเลหายไปภายในปี พ.ศ. 2048 พวกเราส่วนใหญ่จะไม่ต้องกังวล ยกเว้นหลานของเรา อืมม ฉันอาจจะหยุดกินปลาตอนนี้  เว็บรีวิวหนัง