รีวิว Apollo 13

จดๆ จ้องๆ มานาน คิดอยู่ว่า วันไหนจะได้เปิดดูหนังเรื่องนี้กับเขาสักที ภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับปฏิบัติการลงดวงจันทร์หนึ่งในโครงการอะพอลโลของนาซ่า หลายคนอาจคุ้นเคยกับชื่อนักบินอวกาศอย่าง นีล อาร์มสตรอง (Neil Armstrong) และ บัซ อัลดริน (Buzz Aldrin — คนนี้ชื่อคุ้นๆ เนอะ เหมือนถูกนำไปใช้ในแอนิเมชั่น Toy Story เลยอะ) แต่นี่เป็นโครงการหลังจากนั้น ดูได้ที่ ดูหนัง

 

 

‘Apollo 13’ เป็นโครงการที่นาซ่าตั้งใจจะนำนักบินอวกาศไปลงดวงจันทร์อีกครั้ง หลังเคยทำได้สำเร็จมาแล้ว หนังหยิบเรื่องราวที่ จิม โลเวลล์ (Jim Lovell) เขียนเอาไว้ในหนังสือเล่าเรื่องประสบการณ์ของตนเอง อันเป็นประสบการณ์ที่สุดพิเศษแตกต่างกว่าการเดินทางครั้งใด และเมื่อดูจบแล้วก็พบว่า มันเป็นเรื่องราวจริงอันทรงพลังและน่าจับมาทำเป็นภาพยนตร์มากที่สุดเรื่องหนึ่ง

 

รีวิว Apollo 13

 

จริงๆ แล้ว จิม โลเวลล์ และทีมน่าจะได้เป็นนักบินในโครงการอะพอลโล 14 แต่ด้วยเหตุผลด้านสุขภาพของนักบิน ทำให้ทีมพวกเขาต้องเลื่อนมาเดินทางไปดวงจันทร์ในโครงการนี้ ท่ามกลางสถานการณ์ที่สื่อเริ่มจะรู้สึกว่า การเดินทางไปลงดวงจันทร์เริ่มจะไม่มีอะไรใหม่ และไม่น่าสนใจพอจะถ่ายทอดสดอีกแล้ว แต่ในแง่มุมของครอบครัว เรื่องนี้ยังเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่อยู่เช่นเดิม

ไม่กี่วันก่อนการเดินทาง ก็เกิดเหตุให้มีต้องเปลี่ยนหนึ่งในทีมขึ้นมาเสียอีก ทำให้ทีมนักบินในครั้งนี้เป็น Jim Lovell (Tom Hanks), Fred Haise (Bill Paxton) และ Jack Swigert (Kevin Bacon) ส่วนนักบิน Ken Mattingly (Gary Sinise) ต้องถูกทิ้งให้แห้วอยู่บนโลก

Ron Howard ผู้กำกับของภาพยนตร์เรื่องนี้ ผสานทั้งภาพจริงและภาพที่ถ่ายทำขึ้นให้เข้ากันได้อย่างสวยงาม ทั้งการแต่งกาย ทรงผม และพร็อพต่างๆ รวมทั้งงานแต่งสีภาพที่ดูเก่าราวกับเราได้ไปอยู่ในปี 1970 หลายคนที่เคยอ่านเรื่องราวของโครงการนี้มาแล้ว คงพอจะรู้ว่าโครงการประสบความสำเร็จหรือไม่ การบอกเล่าบางส่วนของผมคงจะไม่ใช่การสปอยล์แต่อย่างใด

‘Apollo 13’ ไม่ใช่โครงการที่ประสบความสำเร็จในการลงดวงจันทร์ แต่สิ่งที่มันมีมากกว่านั้น คือ อุบัติเหตุในอวกาศที่เป็นเหตุให้ทั้งสามหมดสิทธิ์จะทำภารกิจให้สำเร็จ แถมเชื่อเพลิงและออกซิเจนที่ไม่เพียงพอนี่แหละ ที่จะทำให้ภารกิจการกลับบ้านเป็นเป้าหมายใหม่ที่ท้าทายยิ่งกว่า

งานด้านภาพ ถือว่าทำได้ค่อนข้างดี ทุกอย่างดูสมจริงมาก อาจจะมีจุดเล็กจุดน้อยที่พอจะมองข้ามไปได้ คว้ารางวัลออสการ์มาได้ 2 รางวัล ไม่ว่าจะเป็น Best Film Editing และ Best Sound แม้จะพลาดไปถึง 7 รางวัลด้วยกันก็ตาม

หนังเรื่องนี้ ให้เราได้ในหลายๆ จุด แง่มุมความดราม่าของครอบครัวที่ต้องห่างกันไกล แถมไม่รู้ว่าจะได้กลับมาเจอหน้ากันรึเปล่า, การร่วมมือกันทำภารกิจของหนึ่งในสมาชิกที่ดูไม่เป็นที่ยอมรับในตอนแรก แต่สุดท้ายก็ต้องร่วมกันฝ่าฝันเพื่อทำสิ่งท้าทายให้สำเร็จ เป็นช่วงเวลาที่แสนกดดันจนผมต้องถอนหายใจหลายครั้งอยู่

มีสองสิ่งที่มนุษย์ให้ความสนใจอย่างสูง ครั้งแรกของโลก (เช่น นักบินอวกาศคนแรก, เหยียบดวงจันทร์คนแรก ฯ) และการประสบหายนะ ช่วงเวลาเป็น-ตาย รอด-ไม่รอด ครึ่งหนึ่งส่งกำลังใจเชียร์-อีกครึ่งคงแช่งให้ประสบความล้มเหลว แต่ถือเป็นช่วงเวลาที่มวลมนุษยชาติ มีจิตใจจดจ่ออยู่กับสิ่งหนึ่งเดียว หลงลืมความเหน็ดเหนื่อย ขัดแย้ง สงครามเย็นไปชั่วขณะหนึ่ง

เมื่อตอนมีสารคดีสมคบคิดที่ว่า NASA และสหรัฐอเมริกา มิได้ส่งคนไปเหยียบดวงจันทร์จริงๆ ผมครุ่นคิดถึงหนังเรื่องนี้ขึ้นมา ถ้าเช่นนั้นจะสร้างหายนะ Apollo 13 ไปเพื่ออะไร? หวนกลับมารับชมครานี้เกิดความเข้าใจบางอย่าง จากคำพูดของตัวละครหนึ่งที่ว่า

และตอนส่งสัญญาณถ่ายทอดสดระหว่างเดินทางสู่ดวงจันทร์ ปรากฎว่าไม่มีสถานีโทรทัศน์ช่องไหนเจียดเวลาให้ … เทรนด์แฟชั่นมันตกยุคเร็วขนาดนั้นเลยหรือ! นี่ถ้าไม่ทำการ ‘กระตุ้น’ ด้วยบางสิ่งอย่าง แนวโน้มสูงมากๆที่โครงการ Apollo จะจบสิ้นลงเร็วกว่า Apollo 17 อย่างแน่แท้ ไปดูกันเลยที่เว็บดูหนังฟร

 

 

แต่กระนั้นผมก็ยังมีความ’เชื่อ’ว่า มนุษย์ชาติได้เคยไปเหยียบย่างบนดวงจันทร์จริงๆ เพราะถ้ามันเป็นสิ่งโป้ปดหลอกลวง ก็เหมือนฐานรากที่สูญเสียความมั่นคง แม้เพียงหินก้อนเดียวก็อาจทำให้พีระมิดล้มครื่นพังทลายลงมาได้เลย (แต่มันก็อาจไม่มีผลอะไรเลยก็ได้ เช่นกันนะ)

เอาว่าการจะรับชมภาพยนตร์เรื่องนี้ ให้ตั้งมั่นไว้ในหัวอกเสียก่อน ‘มนุษย์ชาติได้เคยไปเหยียบย่างบนดวงจันทร์จริงๆ’ แล้วคุณจะมีความสุขในการรับชมขึ้น (กระมัง)

Ronald William Howard (เกิดปี 1954) นักแสดง/ผู้กำกับสร้างภาพยนตร์สัญชาติอเมริกัน เกิดที่ Duncan, Oklahoma ลูกชายคนโตของผู้กำกับ Rance Howard และนักแสดง Jean Speegle Howard มีเชื้อสาย German, Scottish, Irish และ Dutch

ตั้งแต่เด็กสนใจด้านการแสดง เข้าเรียน School of Cinematic Arts ไม่ทันจบมีโอกาสแสดงซีรีย์ ซิทคอม ภาพยนตร์ อาทิ The Music Man (1962), American Graffiti (1973), The Shootist (1976), กำกับฉายเดี่ยวเรื่องแรก Grand Theft Auto (1977), ผลงานดังอาทิ Cocoon (1985), Apollo 13 (1995) A Beautiful Mind (2001) ฯ

เรื่องราวดัดแปลงจากหนังสือ Lost Moon: The Perilous Voyage of Apollo 13 (1994) รวบรวมโดย Jeffrey Kluger เขียนจากคำบอกเล่าของ James Lovell ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบนยาน Apollo 13 เป็นบทภาพยนตร์โดย William Broyles Jr. (Cast Away, Planet of the Apes, The Polar Express) และ Al Reinert (ผู้กำกับสารคดี For All Mankind)

รีวิว Apollo 13

Fred Haise ลูกเรือยาน Apollo 13 เพื่อนสนิทของ Lovell ที่บทบาทแสนจืดจางเสียเหลือเกิน แถมกลายเป็นภาระเพราะอาการป่วย ร่างกายคงปรับตัวกับสภาวะเครียดจัดๆไม่ไหว (ก็น่าจะตั้งแต่อ้วกออกมาครั้งแรก), รับบทโดย Bill Paxton ใบหน้าดูละอ่อน บอบบาง สะท้อนความอ่อนแอกายใจ ดูเหมือนคนพึ่งพาอะไรไม่ค่อยได้เท่าไหร่ ไปรับชมที่ ดูหนังฟรี

 

 

 

Jack Swigert จากเป็นตัวสำรอง ไม่คาดหวังจริงจังจะได้เหยียบย่างดวงจันทร์ในครานี้ ส้มหล่นใส่แบบมิอาจตั้งตัวได้ทัน ทำให้ต้องแบกรับความกดดันไว้มากยิ่งทีเดียว, รับบทโดย Kevin Bacon ที่ขณะนั้นมีภาพลักษณ์เด็กเมื่อวานซืน เหมือนคนไร้ความรับผิดชอบ แต่ที่โดดเด่นมากๆคือการสะท้อนความเครียด กดดัน ผ่านสีหน้าอารมณ์ได้อย่างรู้ตนเอง

Ken Mattingly นักออกแบบ/ควบคุมยาน Aquarius สมาชิกหลักของยาน Apollo 13 หมายมั่นปั้นมือไปโลดแล่นบนดวงจันทร์ แต่ถูกแพทย์ตรวจพบว่ามีเชื้อโรคหัด (ในชีวิตจริง พี่แกก็ไม่เคยป่วยเป็นโรคหัดสักครั้งเดียว!) ท้อแท้สิ้นหวังหมดอาลัย อยากนอนหลับยาวๆให้ตื่นขึ้นมาเริ่มต้นฟ้าใหม่ กลับถูกเจ้าหน้าที่ติดตามตัวมาถึงบ้าน

ให้ช่วยหาวิธีทำอย่างไรให้เปิดคอมพิวเตอร์ยาน ด้วยกระแสไฟฟ้าต่ำกว่า 20 แอมป์, รับบทโดย Gary Sinise นักร้องนักแสดงที่ตามติด Tom Hanks มาจาก Forrest Gump (1994) ภาพลักษณ์ของพี่แกดูเป็นคนเฉลียวฉลาด พึ่งพาได้ แต่พอถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลังก็หมดอาลัย และเมื่อรับทราบเหตุการณ์หายนะ พยายามทำทุกอย่างเพื่อเพื่อนรัก

(จริงๆก็น่าครุ่นคิดนะว่า ถ้า Mattingly ได้ออกเดินทางร่วมไปกับยาน Apollo 13 แล้วประสบพบเจอเหตุการณ์เดียวกันนี้ จะมีใครสามารถครุ่นคิดหาวิธีการแทนเขา ที่น่าจะเป็นคนรู้เรื่องยาน Aquarius มากสุดนี้ได้)

ไฮไลท์ของหนังต้องยกให้ Edward Allen Harris (เกิดปี 1950) นักแสดง/ผู้กำกับ สัญชาติอเมริกัน เกิดที่ Englewood, New Jersey, เติบโตขึ้นในครอบครัว Presbyterian ตอนเด็กชื่นชอบการเล่นฟุตบอลจนเป็นดาวของโรงเรียน

รีวิวจากผู้ชมทั่วโลก

‘Apollo 13’ ทำได้ดีมากสำหรับเรื่องนี้ โดยอิงจากเหตุการณ์จริงที่ยังคงเคลื่อนไหวและสร้างแรงบันดาลใจอย่างต่อเนื่อง รอน ฮาวเวิร์ดแสดงหลักฐานของภาพยนตร์ดีๆ บางเรื่องและนักแสดงที่ยอดเยี่ยมบนกระดาษ ข่าวดีก็คือว่าด้วยสัญญาว่าจะมีการส่งมอบ ‘Apollo 13’ ไปรับชมเลยที่ ดูหนังออนไลน์

 

รีวิว Apollo 13

 

สำหรับผู้เริ่มต้น มันเป็นทัวร์เทคนิค-De-force ถ่ายได้อย่างสวยงาม การจัดวางพื้นที่ก็เพียงพอแล้วที่จะทำให้ทุกคนต้องตกตะลึง และเอฟเฟกต์พิเศษยังคงรักษาไว้ได้อย่างดีอย่างเหลือเชื่อจนถึงทุกวันนี้ โน้ตเพลงจัดทำโดย James Horner ที่สายอย่างน่าเศร้า (เมื่อสองปีที่แล้ว) สำหรับฉันแล้ว งานนี้มีผลงานที่ดีที่สุดบางส่วนของเขา

เป็นเพลงประกอบที่สวยงามชวนตะลึงที่ให้ความรู้สึกที่แท้จริงของการผจญภัย ความตึงเครียด และความลึกลับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “All Systems Go-The Launch” ธีมทรัมเป็ตเปิดและ “Lunar Dreams” อย่างใกล้ชิด

มีสคริปต์ที่ยอดเยี่ยมเช่นกัน โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้องหรือขาด ‘Apollo 13’ อยู่ที่นั่นด้วยหนึ่งในสคริปต์ที่อ้างอิงได้มากที่สุดสำหรับภาพยนตร์ทุกเรื่องในทศวรรษนั้น เอ็ด แฮร์ริสมีบทที่ดีที่สุด แต่ประโยคที่ลืมไม่ลงที่สุดคือ

“ฮูสตัน เรามีปัญหา” เรื่องราวเป็นแบบที่ทำให้คนๆ หนึ่งต้องตกตะลึง กัดเล็บด้วยความสงสัยในระดับสูง บีบหัวใจด้วยวิธีที่ฉุนเฉียวและเป็นแรงบันดาลใจอย่างมาก ‘Apollo 13’ นั้นยาวและดำเนินไปอย่างจงใจ แต่ก็ไม่ใช่ปัญหา อย่างที่พวกเขาควรจะเป็น อย่างอื่นก็ดีเกินไป

การชี้นำของฮาวเวิร์ดเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่เขาเคยทำ คุณสมบัติที่สำคัญคือการแสดง ซึ่งไม่มีอะไรขาดความยอดเยี่ยมและมักจะมากกว่านั้น Tom Hanks เก่งด้วยตัวละครธรรมดาที่เขาเล่นด้วยคำสั่งที่ไม่ธรรมดา

#บิล แพกซ์ตันและเควิน เบคอนต่างยินดีที่ทั้งคู่ต่างยินดี แกรี่ ซีนิสมีความแข็งแกร่งอย่างน่าเชื่อถือ และการแสดงที่ยอดเยี่ยมของเอ็ด แฮร์ริสสำหรับฉันคือการแสดงที่ดีที่สุดของนักแสดง ชื่นชอบการรีวิวของเราสามารถติดตามการรีวิวได้ที่นี้ทีเดียว เว็บรีวิวหนัง